แนวทางการออกแบบกราฟิกอัตลักษณ์
- คุณลักษณะกราฟิก(Image)ที่นำมาใช้โลโก้
- คุณลักษณะข้อความ(อ่าน)Lettering/Text ที่จะนำมาใช้
- รูปแบบตัวอักษร
* Display Typeface
* Serif Typeface
* San Serif Typeface
- คุณลักษณะสี(ความรู้สึกร่วม)ที่จำนำมาใช้ ชุดสี
- รูปแบบผลงานการออกแบบที่สำเร็จออกมาลักษณะใด
* Logotype
* Combination Mark
* Initial
วันอังคารที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2558
วันจันทร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2558
Vittoria Lombardi
Maurizio Pagnozzi คือผู้ออกแบบอยู่เบื้องหลังการสร้างโลโก้ และสร้างตรา Vittoria Lombardi เขาศึกษาการออกแบบกราฟิกจบมาทาง "Anatomy of the Typeface"เขาเชี่ยวชาญในทางศิลปะและการเขียนคำโฆษณา,ควบคู่ไปกับกราฟิกVittoria Lombardi
โดยโลโก้นี้เขานำคำว่า Vittoria Lombardi มาย่อให้เหลือแค่ VL
วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2558
วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2558
แปลข่าวสาร"Essential Butterfly Shoes"
Logo // EB // Essential Butterfly Shoes
Maurizio Pagnozzi is the designer behind the logo creation and branding for Essential
Butterfly Shoes. He studied graphic design at "Scuola la Tecnica" of Benevento, where he
graduated with a project entitled "Anatomy of the Typeface". From there, he continued his
studies at ILAS of Naples where he specialised in Art Direction and Copywriting,
alongside Graphics.
แปลด้วย Google Translate
Following graduation, Pagnozzi worked for several international clients which he says,
"appreciate his direct style." Specialising in branding, corporate identity and packaging,his
aim is "always to create works that combine concepts with strong functional and solid
execution." In 2013, he won the Cread Portfolio Awards, and his work has been published
in several online galleries and inspirational books. To view more of Pagnozzi's work,
visit his website.
Maurizio Pagnozzi เป็นผู้ออกแบบอยู่เบื้องหลังการสร้างโลโก้และการสร้างตราสินค้าสำหรับรองเท้า
ผีเสื้อที่จำเป็น เขาศึกษาการออกแบบกราฟิกที่ "Scuola ลา Tecnica" ของเบเนที่เขาจบการศึกษาด้วย
โครงการชื่อ "กายวิภาคของอักษร" จากนั้นเขาก็ยังคงศึกษาของเขาที่ ILAS เนเปิลส์ที่เขาเชี่ยวชาญใน
ทางศิลปะและการเขียนคำโฆษณาข้างกราฟิก
หลังจากสำเร็จการศึกษา, Pagnozzi ทำงานให้กับลูกค้าต่างประเทศหลายอย่างที่เขาพูด "ขอบคุณ
สไตล์โดยตรงของเขา." ผู้เชี่ยวชาญในการสร้างแบรนด์, เอกลักษณ์องค์กรและบรรจุภัณฑ์จุดมุ่งหมาย
ของเขาคือ "เสมอที่จะสร้างผลงานที่รวมแนวคิดการดำเนินการกับการทำงานและความมั่นคงแข็งแกร่ง."
ในปี 2013 เขาได้รับรางวัลรางวัล Cread ผลงานและการทำงานของเขาได้รับการตีพิมพ์ในแกลเลอรี่
ออนไลน์หลายและหนังสือสร้างแรงบันดาลใจ ดูรายละเอียดของการทำงาน Pagnozzi เยี่ยมชมเว็บไซต์
ของเขา http://www.mauriziopagnozzi.com/
แปลด้วยตัวเอง
Maurizio Pagnozzi คือผู้ออกแบบอยู่เบื้องหลังการสร้างโลโก้ และสร้างตราสินค้าสำหรับรองเท้าEssential Butterfly Shoes เขาศึกษาการออกแบบกราฟิกจบมาทาง "Anatomy of the Typeface"
เขาเชี่ยวชาญในทางศิลปะและการเขียนคำโฆษณา,ควบคู่ไปกับกราฟิก
หลังจากสำเร็จการศึกษา, Pagnozzi ทำงานให้กับลูกค้าต่างประเทศหลายอย่างที่เขาพูด "ขอบคุณ
สไตล์โดยตรงของเขา." ผู้เชี่ยวชาญในการสร้างแบรนด์, เอกลักษณ์องค์กรและบรรจุภัณฑ์จุดมุ่งหมาย
ของเขาคือ "เสมอที่จะสร้างผลงานที่รวมแนวคิดการดำเนินการกับการทำงานและความมั่นคงแข็งแกร่ง."
ในปี 2013 เขาได้รับรางวัลรางวัล Cread ผลงานและการทำงานของเขาได้รับการตีพิมพ์ในแกลเลอรี่
ออนไลน์หลายและหนังสือสร้างแรงบันดาลใจ ดูรายละเอียดของการทำงาน Pagnozzi เยี่ยมชมเว็บไซต์
ของเขา http://www.mauriziopagnozzi.com/
แปลด้วยตัวเอง
Maurizio Pagnozzi คือผู้ออกแบบอยู่เบื้องหลังการสร้างโลโก้ และสร้างตราสินค้าสำหรับรองเท้าEssential Butterfly Shoes เขาศึกษาการออกแบบกราฟิกจบมาทาง "Anatomy of the Typeface"
เขาเชี่ยวชาญในทางศิลปะและการเขียนคำโฆษณา,ควบคู่ไปกับกราฟิก
Essential Butterfly Shoesในโลโก้นี้ Pagnozzi เค้าย่อให้เหลือแค่ EB ตัว E มาจากEssential และ B มาจาก Butterfly ส่วน Shoes นำมาทำรูปร่างของเชือกรองเท้า ให้ตัว EB
และยังดูเหมือนผีเสื้อ ที่มาจากคำว่า Butterfly อีกด้วย
และยังดูเหมือนผีเสื้อ ที่มาจากคำว่า Butterfly อีกด้วย
แปลข่าวสาร"Logos"
Imagine If Logos Represented Company Behaviour
Imagine if brands were forced to create company logos that represent some recent discoveries and news headlines. Well, designers from around the world have done exactly that, by finding high-resolution images of company logos and transforming them into logos that represent the company behavior.
Imagine if brands were forced to create company logos that represent some recent discoveries and news headlines. Well, designers from around the world have done exactly that, by finding high-resolution images of company logos and transforming them into logos that represent the company behavior.
Designs showing the re-created logos have been uploaded to DesignCrowd.com, home to more than 450,000 designers from all around the world. For example the FIFA logo has been re-designed to reflect the latest corruption scandal, while the Sony Pictures Entertainment Hack has been implemented into multiple logo redesigns. Apple products always need to be updated, so a logo was created keeping this in mind, The Takata re-design draws inspiration from the Airbag recall in 2013, and Coca-Cola was given a new logo to reflect the negative impacts sugar has on health.
แปลด้วย google translate
ลองคิดดูหากแบรนด์ที่ถูกบังคับให้สร้างโลโก้ของ บริษัท ที่เป็นตัวแทนของการค้นพบบางอย่างที่ผ่านมาและหัวข้อข่าว ดีนักออกแบบจากทั่วโลกที่ได้ทำตรงนั้นโดยการหาภาพความละเอียดสูงของโลโก้ บริษัท และเปลี่ยนให้เป็นโลโก้ที่เป็นตัวแทนของพฤติกรรมของบริษัท
แสดงการออกแบบโลโก้ใหม่ที่สร้างขึ้นได้รับการอัปโหลดไปยัง DesignCrowd.com, บ้านมากกว่า 450,000 นักออกแบบจากทั่วทุกมุมโลก ตัวอย่างเช่นโลโก้ฟีฟ่าได้รับการออกแบบใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการทุจริตอื้อฉาวล่าสุดในขณะที่โซนี่พิคเจอร์บันเทิงสับได้รับการดำเนินการออกเป็นหลาย redesigns โลโก้ ผลิตภัณฑ์แอปเปิ้ลมักจะต้องมีการปรับปรุงเพื่อให้โลโก้ที่ถูกสร้างขึ้นการรักษาในใจที่ Takata ออกแบบใหม่ดึงแรงบันดาลใจจากการเรียกคืนถุงลมนิรภัยในปี 2013 และ Coca-Cola ได้รับโลโก้ใหม่สะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบด้านลบน้ำตาลที่มีต่อสุขภาพ .
แปลด้วย google translate
ลองคิดดูหากแบรนด์ที่ถูกบังคับให้สร้างโลโก้ของ บริษัท ที่เป็นตัวแทนของการค้นพบบางอย่างที่ผ่านมาและหัวข้อข่าว ดีนักออกแบบจากทั่วโลกที่ได้ทำตรงนั้นโดยการหาภาพความละเอียดสูงของโลโก้ บริษัท และเปลี่ยนให้เป็นโลโก้ที่เป็นตัวแทนของพฤติกรรมของบริษัท
แสดงการออกแบบโลโก้ใหม่ที่สร้างขึ้นได้รับการอัปโหลดไปยัง DesignCrowd.com, บ้านมากกว่า 450,000 นักออกแบบจากทั่วทุกมุมโลก ตัวอย่างเช่นโลโก้ฟีฟ่าได้รับการออกแบบใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการทุจริตอื้อฉาวล่าสุดในขณะที่โซนี่พิคเจอร์บันเทิงสับได้รับการดำเนินการออกเป็นหลาย redesigns โลโก้ ผลิตภัณฑ์แอปเปิ้ลมักจะต้องมีการปรับปรุงเพื่อให้โลโก้ที่ถูกสร้างขึ้นการรักษาในใจที่ Takata ออกแบบใหม่ดึงแรงบันดาลใจจากการเรียกคืนถุงลมนิรภัยในปี 2013 และ Coca-Cola ได้รับโลโก้ใหม่สะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบด้านลบน้ำตาลที่มีต่อสุขภาพ .
Coca-Cola
IKEA
Apple
SONY
FIFA
Chell
วันศุกร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2558
ตราสัญลักษณ์
"โลโก้ต้องสื่อตัวตนได้
โลโก้ต้องเป็นที่จดจำ
โลโก้ต้องสื่อได้แม้ไม่ได้ใช้สีสัน
โลโก้ต้องสื่อได้แม้ขนาดเล็กๆ"
โลโก้ต้องเป็นที่จดจำ
โลโก้ต้องสื่อได้แม้ไม่ได้ใช้สีสัน
โลโก้ต้องสื่อได้แม้ขนาดเล็กๆ"
ตราสัญลักษณ์
ประเภทของตราสัญลักษณ์
ความซับซ้อนและความหลากหลายขององค์กรที่มีอยู่ เป็นต้นเหตุของส าคัญที่ ท าให้เกิดความหลากหลายของรูปแบบตราสัญลักษณ์ โดยเราอาจจะพบได้หลาย รูปแบบตั้งแต่รูปแบบที่เป็นลักษณะง่ายๆ คือ การประยุกต์ลายเซ็นชื่อของผู้ก่อตั้ง องค์กรนั้น จนถึงลักษณะที่ซับซ้อนคือการประมูลข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรและพัฒนา จนเป็นรูปร่างนามธรรม (Abstract shape)
โดยตราสัญลักษณ์แต่ละแบบก็มีความเหมาะสมในการใช้งานในสถานที่ แตกต่างกันไม่ใช่ว่าอยากใช้ตราสัญลักษณ์ แบบใดกับองค์กรแบบไหนก็ได้ ดังนั้นก่อนการออกแบบจึงควรมีการก าหนดก่อนว่า ตราสัญลักษณ์ประเภท ใดบ้างที่มีความเหมาะสมในการที่จะน ามาแก้ปัญหาในกรณีนั้นๆ ซึ่งก็จะเป็น ส่วนช่วยให้เห็นทิศทางในการออกแบบ เพื่อช่วยให้เราไม่ต้องเสียเวลาในการ ทดลองออกแบบตราสัญลักษณ์ประเภทอื่นที่ไม่เหมาะสม
ข้อดี-ข้อเสียของตราสัญลักษณ์
ตราสัญลักษณ์ประเภทนี้ จะมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันโดยจะพิจารณาจากประเด็น ต่อไปนี้
-การสื่อสารให้เข้าใจง่ายและจดจำได้นาน
-ความสวยงามของรูปร่างและความโดดเด่น
-การนำไปใช้งาน
-งบประมาณและเวลาที่ต้องใช้ในการเผยแพร่ตรา สัญลักษณ์นั้นจนเป็นที่คุ้นเคยจ่อสาธารณชน
1. LOGO ตราสัญลักษณ์ประเภทนี้ จะมีองค์ประกอบที่เป็นตัวอักษรเพียงอย่างเดียว โดยไม่มีองค์ประกอบที่เป็นภาพ หรือองค์ประกอบทางการออกแบบอื่น แบ่งเป็น
ข้อดี-ข้อเสีย
-เข้าใจง่าย ผู้ทีรู้ภาษาที่ใช้เป็นชื่อนั้นจะทราบได้ทันทีและหากเป็นชื่อที่น่าสนใจจะ จดจำได้ทันที
-ไม่สามารถสื่อความหมายได้ลึกซึ้ง -รูปร่างมักจะธรรมดา ยากที่จะโดดเด่น
-ใช้ได้ยากหากองค์กรมีชื่อที่ยาว
-หากองค์ประกอบมีตัวอักษรอื่นนอกจากภาษาอังกฤษ อาจจะไม่มีความเป็นสากล
-ใช้งบประมาณน้อยและใช้เวลาสั้นในการสร้างความคุ้นเคย
2.) Initial letter mark ตราสัญลักษณ์ประเภทนี้ จะมีองค์ประกอบที่เป็นตัวอักษรเพียงอย่างเดียว โดยไม่มีองค์ประกอบที่เป็นภาพ หรือองค์ประกอบทางการออกแบบอื่น แบ่งเป็น ตราสัญลักษณ์ประเภทนี้ จะมีองค์ประกอบเป็นตัวอักษรที่เป็นตัวอักษรย่อของชื่อ ผู้ก่อตั้งองค์กรหรือชื่อที่ผู้ที่บริหารองค์กรเลือกใช้ โดยการใช้ชื่อย่อนั้นอยู่ในวัฒนธรรม ของชาวตะวันตกมาช้านานแล้ว เมื่อมีการน าชื่อมาใช้เป็นตราสัญลักษณ์ก็มีการน า แนวคิดนั้นมาใช้ด้วย โดยตราสัญลักษณ์ประเภทนี้จะดีในแง่การหาทางออกให้กับ ชื่อองค์กรที่ค่อนข้างยาว
ข้อดี-ข้อเสีย
-เข้าใจยาก จดจำยาก เพราะมีตราสัญลักษณ์ประเภทนี้อยู่มากทำให้สับสนง่าย และอาจจะนึกชื่อเต็มไม่ออก
-ทำให้สวยงามได้ง่าย แต่อาจจะขาดความโดดเด่น
-เป็นทางออกที่ดีสำหรับชื่อองค์กรที่มีชื่อยาวๆ และหากคุ้นเคยแล้วจะเรียกติดปาก ได้ง่าย
-ตัวย่อไม่เป็นสากล เช่น NATO – North Atlantic Treaty Organization (USA) -Organization Tratado Atlantico Norte (Spain)
-มีโอกาสที่ชื่อย่อจะไปซ้ำกับองค์กรอื่น
-ใช้งบประมาณและเวลามากกกว่า Name only mark
2. SYMBOL ตราสัญลักษณ์ประเภทนี้ จะมีองค์ประกอบที่เป็นภาพหรือองค์ประกอบทางการ ออกแบบอื่น เช่น จุด เส้น โดยไม่มีองค์ประกอบที่เป็นตัวอักษรมาผสมกับภาพ จนเป็นรูปร่างร่วมกัน (อาจมีการนำเอาตัวอักษรที่เป็นชื่อมาวางประกอบ ด้านหน้า ด้านล่าง หรือด้านข้างทีหลัง โดยจะวางแยกออกจากตราสัญลักษณ์)
1.) Allusive mark ตราสัญลักษณ์ประเภทนี้ จะมีองค์ประกอบเป็นภาพของสิ่งที่มีความเกี่ยวเนื่อง สัมพันธ์กับประวัติ ประเภท หรือลักษณะพิเศษอื่นขององค์กร แล้วนำมาเสนอให้มี เอกลักษณ์มากขึ้น ส่วนใหญ่ตราประเภทนี้จะเป็นมุขที่ “ดูออก” หรือเข้าใจง่ายสำหรับ ผู้ที่มีความเกี่ยวข้องกับองค์กรอยู่แล้ว
ข้อดี-ข้อเสีย
-ความเข้าใจยาก (ปานกลาง) มีความหมาย และมีอิทธิพลต่อการรับรู้สูง
-ทำให้รูปร่างสวยงาม และโดดเด่นไม่ยาก
-มีความเป็นสากล (มีภาษาภาพช่วย)
-ใช้งบประมาณและเวลามาก
2.) Abstract mark ตราสัญลักษณ์ประเภทนี้ จะมีองค์ประกอบเป็นภาพหรือองค์ประกอบทางการออกแบบ ที่ไม่ใช่ตัวหนังสือ สะท้อนประวัติหรือปรัชญา หรือลักษณะพิเศษอื่นขององค์กร แล้วน า มาพัฒนาจนเกิดรูปร่างนามธรรม ที่ดูออกได้ยากว่าเป็นภาพของอะไร โดยส่วนใหญ่ตรา ประเภทนี้จะเหมาะกับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีกิจการหลายประเภท ตราประเภทนี้ข้อดี คือจะดูเด่นมีเอกลักษณ์ แต่จะยากในการท าความเข้าใจและคุ้นเคย
ข้อดี-ข้อเสีย
-เข้าใจได้ยากกว่า Allusive Mark แต่สื่อความหมายได้ลึกซึ้ง มีอิทธิพลต่อการรับรู้สูง
-ทำให้สวยงามได้ไม่ยาก แต่ความโดดเด่นอาจจะด้อยลง เพราะมีตราประเภทนี้อยู่มาก
-มีความเป็นสากลกว่าตราแบบอื่นๆ
-สามารถครอบคลุมธุรกิจขององค์กรได้ทั้งหมด
-ใช้งบประมาณมหาศาลและเวลานานมากในการรับร
3. Combination mark ตราสัญลักษณ์ประเภทนี้ จะมีองค์ประกอบที่เป็นภาพหรือองค์ประกอบทางการ ออกแบบอื่นๆ ร่วมกับองค์ประกอบที่เป็นตัวอักษรมาผสมกันจนเป็นรูปร่าง
1.) Name symbol mark ตราสัญลักษณ์ประเภทนี้ จะมีองค์ประกอบเป็นตัวอักษรที่เป็นชื่อองค์กร แล้วน ามา บรรจุไว้ในเส้นรอบรูปที่เป็นรูปร่างง่ายๆ เช่น วงรี วงกลม หรือสี่เหลี่ยมเป็นต้น ตรา สัญลักษณ์ประเภทนี้หลายอัน เป็นตราสัญลักษณ์ที่ได้รับการพัฒนาจากตรา ประเภท Name-only mark โดยมุ่งหวังรูปร่างที่ง่าย มีเอกภาพ และมีพลังมากขึ้น
ข้อดี-ข้อเสีย
-เข้าใจง่ายมาก เนื่องจากถ้าเป็นผู้รู้ภาษานั้นๆ ก็จะเข้าใจได้ทันที และหากเป็นชื่อที่ น่าสนใจยิ่งช่วยในการจำได้ง่าย
-ยากที่จะสื่อความหมายลึกซึ้ง
-รูปร่างมักจะธรรมดา ยากที่จะโดดเด่น
-ใช้ได้ยากหากองค์กรนั้นๆมีชื่อที่ยาว
-หากองค์ประกอบเป็นตัวอักษรอื่นที่ไม่ได้เป็นภาษาอังกฤษจะขาดความเป็นสากล
-ใช้งบประมาณที่น้อยและสั้น
2.)Pictorial name mark ตราสัญลักษณ์ประเภทนี้มีการใช้องค์ประกอบคือ ตัวอักษรที่เป็นชื่อองค์กรร่วมกับ ภาพ หรือองค์ประกอบทางการออกแบบอื่นๆ ที่มีรูปร่างโดดเด่นมีเอกลักษณ์ ตรา ประเภทนี้จะต้องมีองค์ประกอบส่วนที่เป็นภาพที่ค่อนข้างพิเศษ จนแม้ว่านำตัวอักษร ออก ก็ยังจาตรานั้นไดั
ข้อดี-ข้อเสีย
- เข้าใจได้ไม่ยากแต่หากความหมายลึกซึ้งก็ต้องการการเผยแพร่ในรูปแบบสื่ออื่นๆ
-ทำให้รูปร่างสวยงามและโดดเด่นได้ไม่ยาก
-แม้จะมีตัวอักษรเป็นองค์ประกอบหลัก แต่ก็มีองค์ประกอบอื่นช่วยให้มีความเป็น สากลได้
-ใช้งบประมาณมากและเวลานาน
-เข้าใจได้ไม่ยาก
-ทำให้สวยงามได้ไม่ยาก แต่ความโดดเด่นอาจจะด้อยลง เพราะมีตราประเภทนี้อยู่มาก
-ตัวอักษรและภาพอาจดูเป็นงานออกแบบที่ย้ำคิดย้าทำ
-แม้จะมีตัวอักษรเป็นองค์หลัก แต่ก็มีองค์ประกอบอื่นช่วยให้มีความเป็นสากลได้
-ใช้งบประมาณมาก และเวลานาน (ปานกลาง)
3.) Associative mark ตราสัญลักษณ์ประเภทนี้มีการใช้องค์ประกอบคือ ตัวอักษรที่เป็นชื่อองค์กรร่วมกับ ภาพ หรือองค์ประกอบทางการออกแบบอื่นๆอย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยจะ แยกองค์ประทั้ง 2 ประเภทออกจากกันได้ยาก
ข้อดี-ข้อเสีย
-เข้าใจได้ไม่ยาก
-ทำให้สวยงามได้ไม่ยาก แต่ความโดดเด่นอาจจะด้อยลง เพราะมีตราประเภทนี้อยู่มาก
-ตัวอักษรและภาพอาจดูเป็นงานออกแบบที่ย้ำคิดย้าทำ
-แม้จะมีตัวอักษรเป็นองค์หลัก แต่ก็มีองค์ประกอบอื่นช่วยให้มีความเป็นสากลได้
-ใช้งบประมาณมาก และเวลานาน (ปานกลาง)
ประเภทของโลโก้
1. Word Markข้อดีของโลโก้ประเภทนี้คือง่ายต่อการจดจำ มีรูปแบบที่เรียบง่าย ดูสะอาดสบายตา
2. Letter Mark
ข้อดีของโลโก้แบบนี้คือจะดูมีดีไซน์แต่ยังคงดูเรียบง่าย แบรนด์ดังๆ มักจะนิยมใช้โลโก้ประเภทนี้
3. Symbol
ข้อดี้คือสามารถออกแบบให้สวยงามมีเอกลักษณ์ได้ เหมาะกับแบรนด์ที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปอยู่แล้ว
4. Combination Mark
ซึ่งการออกแบบโลโก้ประเภทนี้จะเป็นแบบที่นิยมใช้กันมากที่สุด
5. Emblem
จะทำให้ดูเป็นทางการ ส่วนใหญ่มักจะนิยมใช้กับหน่วยงานราชการหรือองค์กร
สัญลักษณ์ ® © และ ™
สัญลักษณ์ ® © และ ™
(TM) = Trade Mark คือเครื่องหมายการค้า ได้แก่ คำ หรือรูปภาพ ที่แสดงความเป็นตัวตน เป็น subset ของลิขสิทธิ์ชนิดหนึ่ง
(R) = Registered คือ Trademark ที่ได้จดทะเบียนไว้กับ U.S.Patent แล้ว (จดหรือไม่จดก็ได้แต่จดแล้วจะดีกว่าเพราะมีหลักฐานในชั้นศาล)
(C) = copyright Copyright คือลิขสิทธิ์ ใช้กับงานสร้างสรรทุกประเภท ได้รับความคุ้มครองทันทีที่สร้างขึ้นโดยไม่ต้องจดทะเบียน
กฎหมายเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้าแบบต่างๆ เช่น (TM) (C) (R)
คนทำงานศิลปะหรืออกแบบไม่ว่าสาขาไหน จำเป็นต้องรู้กฎหมายไว้บ้าง เพื่อคุ้มครองสิทธิ์ในงานศิลปะที่ตนเองพึงได้รับ วันนี้เรามารู้จักกับ เครื่องหมายต่างๆที่น่าสนใจ
เครื่องหมาย (TM) (C) (R) นั้นต่างกันอย่างไร
TM และ (R) ใช้กับชื่อเฉพาะ เช่น Intel , Microsoft word หรือ Microsoft Excel
TM และ (R) ใช้กับชื่อเฉพาะ เช่น Intel , Microsoft word หรือ Microsoft Excel
สำหรับ (C) ลิขสิทธิ์หมายถึงความคุ้มครองในงานประเภทวรรณกรรม และ software
Microsoft Excel ที่เป็น software จะได้รับความคุ้มครองจากลิขสิทธิ์ ซึ่งจะเปลี่ยนชื่อเป็นอะไรก็ตาม ก็ยังได้รับความคุ้มครองทางลิขสิทธิ์ เนื่องจากตัว software ยังคงเหมือนเดิม
ส่วนคำว่า Microsoft เป็น Registered Trademark หมายความว่า คุณไม่สามารถสร้างสินค้าชื่อ Microsoft ได้ เพราะสามารถเกิดการฟ้องร้องกันได้ (เนื่องจากมีการจดทะเบียนไว้แล้วทุกประเทศทั่วโลก) คำว่า Excel เป็น Trademark เฉยๆ เราจะสร้างสินค้าใหม่ชื่อ Excel ก็ไม่ผิด แต่ถ้าไปสร้าง spreadsheet ชื่อ Excel ก็มีเหตุพอให้ microsoft ฟ้องว่าตั้งใจทำให้ผู้บริโภค เข้าใจผิด
คำว่า Patent คือสิทธิบัตร ซึ่งความคุ้มครองจะแตกต่างกับลิขสิทธิ์
ลิขสิทธิ์ (C) นั้น ไม่จำเป็นต้องจดทะเบียนใดๆ เราจะเขียนงานอะไรขึ้นมาหนึ่งอย่าง จะเขียนโปรแกรม หรือถ่ายรูป งานนั้น จะได้รับ copyright โดยอัตโนมัติ
Microsoft Excel ที่เป็น software จะได้รับความคุ้มครองจากลิขสิทธิ์ ซึ่งจะเปลี่ยนชื่อเป็นอะไรก็ตาม ก็ยังได้รับความคุ้มครองทางลิขสิทธิ์ เนื่องจากตัว software ยังคงเหมือนเดิม
ส่วนคำว่า Microsoft เป็น Registered Trademark หมายความว่า คุณไม่สามารถสร้างสินค้าชื่อ Microsoft ได้ เพราะสามารถเกิดการฟ้องร้องกันได้ (เนื่องจากมีการจดทะเบียนไว้แล้วทุกประเทศทั่วโลก) คำว่า Excel เป็น Trademark เฉยๆ เราจะสร้างสินค้าใหม่ชื่อ Excel ก็ไม่ผิด แต่ถ้าไปสร้าง spreadsheet ชื่อ Excel ก็มีเหตุพอให้ microsoft ฟ้องว่าตั้งใจทำให้ผู้บริโภค เข้าใจผิด
คำว่า Patent คือสิทธิบัตร ซึ่งความคุ้มครองจะแตกต่างกับลิขสิทธิ์
ลิขสิทธิ์ (C) นั้น ไม่จำเป็นต้องจดทะเบียนใดๆ เราจะเขียนงานอะไรขึ้นมาหนึ่งอย่าง จะเขียนโปรแกรม หรือถ่ายรูป งานนั้น จะได้รับ copyright โดยอัตโนมัติ
สำหรับงาน copyright นั้นจะได้รับความคุ้มครองเฉพาะตัวของมันเอง เช่น โปรแกรม Excel ถ้าเราไป copy โดยไม่ได้รับอนุญาตก็ผิดกฎหมาย ถ้าเราเขียนเอง มี function เหมือนกัน จะไม่ผิด (แต่ถ้าเราไปใช้ชื่อ Excel ก็จะไปละเมิดเรื่อง Trademark แทน) แล้วการจะพิสูจน์ได้อย่างไรว่า ใครเป็นเจ้าของ copyright ถ้ามีคดีความเกิดขึ้น ก็จะเป็นเรื่องในชั้นศาล
คำว่า Patent หรือ สิทธิบัตรนั้น ต้องมีการจด จึงจะได้รับความคุ้มครอง ใช้กับสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เช่น โทรศัพท์ หรือ แม้กระทั่ง software การจดสิทธิบัตรจะต้องให้รายละเอียด การได้มาซึ่งสิ่งประดิษฐ์นั้นๆ ซึ่งเมื่อจด และได้รับการรับรองแล้ว (ไม่มีใครแย้งว่า เคยทำมาก่อน หรือ เป็น "ความรู้ทั่วไป") จะได้รับการคุ้มครอง แม้จะคิดออกมาได้เองเหมือนกัน แต่ก็จะต้องยอมให้คนจดได้ก่อน คนจดทีหลังจะไม่สามารถขายสิ่งประดิษฐ์ ของตัวเองได้เลย นอกจากจะได้รับความยินยอม จากเจ้าของสิทธิบัตร
อายุของสิทธิบัตรของสิ่งประดิษฐ์แต่ละประเภทจะแตกต่างกันออกไป เช่น สิทธิบัตรของยาหลายประเภท มีอายุเพียง 3 ปี เมื่อสิทธิบัตรนั้นหมดอายุใครๆ ก็ผลิตได้ ไปเปิดรายละเอียดที่จดไว้ ในสิทธิบัตรแล้ว ผลิตเองได้เลย เหมือนกับ LCD ที่เพิ่งจะทะยอยหมดอายุไปทั่วโลกเมื่อไม่นานมานี้
อีกคำหนึ่งที่เป็นการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาเหมือนกันก็คือ Trade Secret ส่วนเนื้อหาตามกฏหมายเป็นดังนี้ (TM) คือ เครื่องหมายการค้า (ซึ่งจะจดทะเบียนหรือไม่จดทะเบียนก็ได้) "เครื่องหมายการค้า" หมายความว่า เครื่องหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของเครื่องหมายการค้านั้นแตก ต่างกับสินค้า ที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น
อีกคำหนึ่งที่เป็นการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาเหมือนกันก็คือ Trade Secret ส่วนเนื้อหาตามกฏหมายเป็นดังนี้ (TM) คือ เครื่องหมายการค้า (ซึ่งจะจดทะเบียนหรือไม่จดทะเบียนก็ได้) "เครื่องหมายการค้า" หมายความว่า เครื่องหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของเครื่องหมายการค้านั้นแตก ต่างกับสินค้า ที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)